Development of the Institution into Learning Institution

Development of the Institution into Learning Institution
Academic Year 2013/2014

Standard Criteria

  1. Specify knowledge issue and target of knowledge management consistent with institutional strategy plan at least covering the mission of production of graduate and research.
  2. Obviously specify target personnel to develop knowledge and skill of production of graduate and research according to knowledge issue in article 1.
  3. Share and exchange learn from knowledge skill from the directly experienced (tacit knowledge) in order to find good way according to knowledge issue in article 1 and propagate it to the target personnel.
  4. Compile knowledge according to knowledge issue prescribed in article 1 both in person and in other learning sources which are good way to develop and systematically accumulate it by propagating it in writing (explicit knowledge).
  5. Apply knowledge from knowledge management in this or last academic year which is in writing (explicit knowledge) and from knowledge and skill from the directly experience (tacit knowledge) which is good way in real practical operation.

 

 

 

กระบวนการจัดการความรู้

  1. การกำหนดความรู้ (Knowledge specification)

การกำหนดความรู้ถือเป็นกระบวนการขั้นแรกสุดในการจัดการความรู้ ในขั้นนี้สถาบันต้องกำหนดองค์ความรู้ที่มีในสถาบัน โดยคำนึงถึงอัตลักษณ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของวิทยาลัย
วิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติกำหนดความรู้เป็น 2 ด้าน คือ ความรู้ด้านการผลิตบัณฑิต และความรู้ด้านการวิจัย

  1. การแสวงหาความรู้ (Knowledge acquisition)

บุคลากรของวิทยาลัยฯ มีความรู้แตกต่างกันตามการศึกษา ความสนใจ และประสบการณ์ส่วนตัว องค์ความรู้เหล่านี้มีทั้งที่เป็นแบบซ่อนเร้น (tacit knowledge) ซึ่งแฝงอยู่ในตัวบุคลากรระดับต่าง ๆ และความรู้แบบชัดแจ้ง (explicit knowledge) ซึ่งถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว
วิทยาลัยฯ ต้องผลักดันให้บุคลากร โดยเฉพาะคณาจารย์ ให้ถ่ายทอดความรู้ของตนออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้สะดวกต่อวิทยาลัยฯ ในการดำเนินการจัดเก็บต่อไป

  1. การประมวลความรู้ (Knowledge codification)

การประมวลความรู้ ทำให้ความรู้ที่เป็นลายลักษณ์อักษรทั้งหมดนั้นถูกจัดเป็นระบบ หมวดหมู่ สามารถสืบค้น และเข้าถึงได้โดยง่าย
วิทยาลัยฯ ได้จัดความรู้เป็น 2 หมวด คือ ความรู้ด้านพุทธศาสตรศึกษา ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการจัดการเรียนการสอนทุกหลักสูตรในวิทยาลัย และความรู้ด้านการบริหารจัดการ ซึ่งทำให้วิทยาลัยจัดการ ดำเนินงาน และปกครองบุคลากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  1. การแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge sharing)

การแลกเปลี่ยนความรู้ทั้งภายในและระหว่างสถาบัน เป็นการพัฒนาความรู้ ทักษะ และประสบการณ์บุคลากรของวิทยาลัยฯ และยังช่วยเสริมสร้างเอกภาพ ความปรองดอง ภายในบุคลากร
วิทยาลัยฯ อำนวยการแลกเปลี่ยนความรู้ โดยจัดเป็นการประชุมวิชาการ การสัมมนา การเสวนา เพื่อเปิดโอกาสให้บุคลากรที่เข้าร่วม ทั้งคณาจารย์และพนักงาน ได้พัฒนาความรู้และศักยภาพของตน นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้บุคลากรได้เข้าร่วมกิจกรรมต่างสถาบัน เพื่อเปิดวิสัยทัศน์ โลกทัศน์ สร้างเครือข่ายและความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ระหว่างสถาบัน

  1. การจัดเก็บความรู้ (Knowledge storage)

ความรู้ที่บุคลากรได้รับมาจากแหล่งต่าง ๆ และได้ถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว สถาบันมีหน้าที่ดำเนินการจัดเก็บองค์ความรู้เหล่านั้นให้เป็นระบบ และหมวดหมู่ตามที่ได้วางแผนไว้ในขั้นการประมวลความรู้ เพื่อให้ความรู้เหล่านั้นดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืนต่อไป แม้บุคลากรที่เป็นแหล่งที่มาไม่ได้อยู่ในวิทยาลัยแล้วก็ตาม
วิทยาลัยฯ มอบหมายให้สำนักงานเทคโลโลยีสารสนเทศเป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการจัดเก็บข้อมูล  องค์ความรู้ สารสนเทศต่าง ๆ ให้เป็นระบบ หมวดหมู่ ด้วยเทคโนลยีสมัยใหม่ เพื่อให้บุคลากรสามารถเข้าถึงสารสนเทศเหล่านี้ได้โดยสะดวกต่อไป

  1. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge access)

องค์ความรู้ที่ได้รับการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ หมวดหมู่ ทำให้บุคลากรเข้าถึงได้โดยสะดวก และเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกภาคส่วนสามารถใช้บริการห้องสมุดได้อย่างเต็มที่
ห้องสมุดและห้องสมุดอิเล็คทรอนิค เป็นแหล่งจัดเก็บองค์ความรู้ของวิทยาลัย บุคลากรสามารถเข้าถึงได้ง่าย นอกจากนี้การเข้าถึงบุคลากรผู้เป็นแหล่งที่มาของความรู้ก็สามารถทำได้ง่าย โดยการกำหนดช่วงเวลาเข้าพบที่แน่นอน


Knowledge Management Plan

Plan

Indicators

Goal

People in Charge

1. Knowledge identification

* Academic Committee was appointed.
* Academic Committee has meetings about KM and identifies bodies of knowledge.

* Academic Council
* bodies of knowledge

Academic Committee

2. Knowledge acquisition

* Specialists, library, and computer lap are provided as learning resources.
* Personnel can fully use IBC resources for their knowledge acquisition.
* Academic Committee gathers bodies of knowledge from IBC personnel.

* bodies of knowledge
* knowledge resources
* personnel

Academic Committee

3. Knowledge codification

* Academic Committee codifies bodies of knowledge according fields of study.

* list of bodies of knowledge

Academic Committee

4. Knowledge sharing

* Activities of knowledge sharing are provided constantly for personnel.

* bodies of knowledge

Academic Committee

5. Knowledge storage

* Bodies of knowledge are stored systematically.

* bodies of knowledge

IT Office

6. Knowledge access

* Bodies of knowledge are accessible easily to personnel.

* bodies of knowledge

IT Office